ผลการเรียนรู้ที่5 รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ - ตุลาคม 13, 2564 ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 5 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning Management System) 22 กรกฎาคม 2564 ตามประกาศจุฬาราชมนตรี เรื่อง วันอีฎิ้ลอัดฮา ฮิจเราะห์ศักราช 1442 ตรงกับวันที่ 21กรกฎาคม พ.ศ.2564นั้นเพื่อให้บุคลากรและนักศึกษาได้ดำเนินการปฏิบัติศาสนกิจมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาจึงประกาศงดการเรียนการสอนออนไลน์ในวันที่ 22-23 กรกฎาคม พ.ศ.2564 โดยให้อาจารย์ผู้สอนจัดการเรียนการสอนตามความเหมาะสมต่อไป รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ความคิดเห็น
ศิลปะ ปันจักสีลัต - กุมภาพันธ์ 13, 2565 ศิลปะ ปันจักสีลัต ปันจักสีลัต ( Pencak Silat) เป็นคำที่มาจากภาษาอินโดนีเซียมาจากคำว่า"ปันจัก" ( Pencak) หมายถึงการป้องกันตนเองและคำว่า "สีลัต" ( Silat) หมายถึงศิลปะรวมความแล้วหมายถึงศิลปะการป้องกันตนเองกีฬาประเภทนี้เดิมเป็นศิลปะการต่อสู้ของคน เชื้อสายมาลายู ในภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ บรูไน และพื้นที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย คือ ปัตตานี ยะลา สตูล นราธิวาส และสงขลา เรียกว่า “สิละ” “ดีกา” หรือ “บือดีกา” เป็นศิลปะการต่อสู้ด้วยมือเปล่าเท้าเปล่า เน้นให้เห็นลีลาการเคลื่อนไหวที่สวยงาม มีบางท่านกล่าวว่า สิละมีรากคำว่า ศิละ ภาษาสันสกฤต ทั้งนี้เพราะดินแดนของมลายูในอดีตเคยเป็นดินแดนอาณาจักรศรีวิชัย ที่มีวัฒนธรรม อินเดียเข้ามามีบทบาทที่สำคัญ จึงมีคำสันสกฤตปรากฏอยู่มาก ประวัติความเป็นมา ของปันจักสีลัตนั้น มีตำนานเล่าต่อกันมาหลายตำนาน ซึ่งมีส่วนตรงกันและแตกต่างกันบ้าง โดยเฉพาะต้นกำเนิดของกีฬาประเภทนี้ซึ่ง เขียนขึ้นอยู่กับแต่ละประเทศที่ได้เขียนมา อินโดนีเซีย เล่าไปอย่างหนึ่ง มาเลเซียก็เล่าไปอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งผู้เขียนจะไ... อ่านเพิ่มเติม
ผลการเรียนรู้ครั้งที่4 - ตุลาคม 13, 2564 ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 4 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning Management System) 15 กรกฎาคม 2564 กิจกรรมการเรียนการสอนมีดังนี้ 1.อาจารย์ให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียนก่อนเข้าเรียนในระบบอีเลอร์นิ่ง ( https://elearning.yru.ac.th ) 2. เข้าเรียนในห้อง Zoom เวลา 8.45 น. 3. เตรียมเล่น Kahoot Game ทบทวนเนื้อหาบทเรียนที่ 2 จากนั้นได้มีการเรียนการสอน ในบทที่ 3 อีเลิร์นนิ่งและระบบจัดการ สามารถสรุปสาระสำคัญได้ดังนี้ 1.ประเภทของอีเลิร์นนิ่งแบ่งตามลักษณะการปฏิสัมพันธ์ของกิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ อีเลิร์นนิ่งแบประสานเวลา (Synchronous Learning) อีเลิร์นนิ่งแบบไม่ประสานเวลา ( Asynchronous Learning) และแบบประสมเวลา ( Hybrid Learning 2.ข้อดีของอีเลิร์นนิ่ง ได้แก่ สะดวกสบาย สอดคล้องกับความก้าวหน้าในปัจจุบัน ปรับเปลี่ยนได้ทันทีทันใด มีความเป็นเลิศ ของระบบ มีการปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนได้ตลอดเวลา ทั้งรายบุคคล และกลุ่ม และเป็นสหวิชาการ 3. ข้อจำกัดของอีเลิร์นนิ่ง ได้แก่ การให้ผลสะท้อนกลับ... อ่านเพิ่มเติม
ผลการเรียนรู้ที่ 7 - ตุลาคม 13, 2564 ผลการเรียนรู้ครั้งที่ 7 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning Management System) 05 สิงหาคม 2564 กิจกรรมการเรียนการสอนมี ดังนี้ 1. ให้นักศึกษาทุกคนเข้าห้อง Zoom Conference เวลา 0 9.00 น. 2. ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำเสนอ หัวข้อโครงงานและบทที่ 1 ความสำคัญและความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ระยะเวลาศึกษาโครงงานและ นิยามคำศัพท์เฉพาะ ซึ่งมีทั้งหมด 7 กลุ่ม นำเสนอตามลำดับ โดยแต่ละกลุ่มมีหัวข้อนำเสนอ ดังต่อไปนี้ กลุ่ม 1 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง แนวคิดเชิงคำนวณ รายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่ม 2 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่งการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี วิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่ม 3 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงา... อ่านเพิ่มเติม
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น