บทความ

ศิลปะ ปันจักสีลัต

รูปภาพ
ศิลปะ ปันจักสีลัต      ปันจักสีลัต ( Pencak Silat) เป็นคำที่มาจากภาษาอินโดนีเซียมาจากคำว่า"ปันจัก" ( Pencak) หมายถึงการป้องกันตนเองและคำว่า "สีลัต" ( Silat) หมายถึงศิลปะรวมความแล้วหมายถึงศิลปะการป้องกันตนเองกีฬาประเภทนี้เดิมเป็นศิลปะการต่อสู้ของคน เชื้อสายมาลายู ในภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ บรูไน และพื้นที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย คือ ปัตตานี ยะลา สตูล นราธิวาส และสงขลา เรียกว่า “สิละ” “ดีกา” หรือ “บือดีกา” เป็นศิลปะการต่อสู้ด้วยมือเปล่าเท้าเปล่า เน้นให้เห็นลีลาการเคลื่อนไหวที่สวยงาม มีบางท่านกล่าวว่า สิละมีรากคำว่า ศิละ ภาษาสันสกฤต ทั้งนี้เพราะดินแดนของมลายูในอดีตเคยเป็นดินแดนอาณาจักรศรีวิชัย ที่มีวัฒนธรรม อินเดียเข้ามามีบทบาทที่สำคัญ จึงมีคำสันสกฤตปรากฏอยู่มาก ประวัติความเป็นมา ของปันจักสีลัตนั้น มีตำนานเล่าต่อกันมาหลายตำนาน ซึ่งมีส่วนตรงกันและแตกต่างกันบ้าง  โดยเฉพาะต้นกำเนิดของกีฬาประเภทนี้ซึ่ง เขียนขึ้นอยู่กับแต่ละประเทศที่ได้เขียนมา อินโดนีเซีย เล่าไปอย่างหนึ่ง มาเลเซียก็เล่าไปอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งผู้เขียนจะได้นำ

ผลการเรียนรู้ที่ 16

รูปภาพ
  ผลการเรียนรู้ครั้งที่    16 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning Management System)   วันที่ 7 ตุลาคม 2564   สมาชิกในกลุ่มได้มีการประชุมทำงานออนไลน์ ผ่าน Google Meet  โดยในครั้งนี้พูดคุยในรูปแบบของเลมรายงานทั้งหมด เก็บรายละเอียดของข้อมูลทั้งหมด ดังนี้                                1. ปกนอก ปกใน                                 2. บทคัดย่อ Abstract กิตติกรรมประกาศ                                 3. สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ                                 4. บทที่ 1 บทนำ                                 5. บทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง                                 6.   บทที่ 3 วิธีการศึกษา                                  7. บทที่ 4 ผลการศึกษา                                 8. บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ                                 9. บรรณานุกรม                                 10. ภาคผนวก                                 11. แผนการจัดการเรียนรู้ ทำการเพิ่มเนื้อหาของข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ในระบบ https://smp.yru.ac.th/   ให้มีความสมบูรณ์ ตรวจสอบความถูกต้องแล

ผลการเรียนรู้ที่ 15

รูปภาพ
  ผลการเรียนรู้ครั้งที่    15 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning Management System) วันที่ 30 กันยายน 2564                  ในวันที่ 30 กันยายน 2564 ทางฝ่ายฝึกได้ขออนุญาติอาจารย์รายวิชาแต่ละท่านให้งดการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษานั้นได้สังเกตการสอนของโรงเรียน      อาจารย์ ดร.ศิริชัย นามบุรี ได้ยกคลาสในสัปดาห์นี้พร้อมให้แต่กลุ่มของโครงงานทำงานกลุ่มให้คืบหน้า                ในครั้งนี้ทางกลุ่มเราได้มีนัดประชุมการทำงานโดยใช้ Google meet ในการประชุม เพื่อเพิ่มเนื้อหาของข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ในระบบ https://smp.yru.ac.th/   โดยในครั้งนี้มีการจัดทำแบบทดสอบแบบทดสอบก่อนเรียน ( Pretest)   และแบบทดสอบหลังเรียน ( Pretest)   ให้ความสมบูรณ์มากขึ้น และสุดท้ายได้มีการพูดคุยบทที่ 5 สรุป

ผลการเรียนรู้ที่ 14

รูปภาพ
  ผลการเรียนรู้ครั้งที่    14 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning Management System)   วันที่ 23 กันยายน 2564             อาจารย์ประกาศงดคลาสเพื่อให้นักศึกษาแต่กลุ่มของโครงงานทำรายงานในบทที่ 4 และบทที่ 5 พร้อมพัฒนาระบบ SMP ทางกลุ่มของเราก็ได้มีการประชุมและแบ่งหัวข้อหน้าที่กันทำ ซึ่งสรุปจากการประชุมของกลุ่มพวกเราในสัปดาห์นี้ ซึ่งสมาชิกในกลุ่มได้มีการประชุม และทำงานออนไลน์ ผ่าน Google Meet เพื่อเพิ่มเนื้อหาข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ในระบบ https://smp.yru.ac.th/ และแบ่งหหน้าที่ให้แต่ละคน ได้มีการเพิ่มข้อมูลเพิมเติมลงระบบ           หลังจากสมาชิกในกลุ่มได้จัดทำระบบอีเลิร์นนิ่ง ในระบบ https://smp.yru.ac.th/   เสร็จสมบูรณ์ ก็จัดทำในรูปเล่มเอกสาร รายงานการศึกษาโครงงาน     1. ในส่วนของเล่มรายงาน บทที่ 4 และ บทที่ 5 ซึ่งมีการแบ่งหัวข้อว่าใครรับผิดชอบในหัวข้อไหน โดยมีหัวข้อดังนี้         1.1 บทที่ 4         1.2 บทที่ 5 มีหัวข้อย่อย ดังนี้             - เกริ่นนำ , ขั้นตอนการศึกษา             - ความสำคัญ , สรุปผลการศึกษา             - แนวทาง , ข้อเสนอแนะ    

ผลการเรียนรู้ที่ 13

รูปภาพ
  ผลการเรียนรู้ครั้งที่    13 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning Management System) วันที่ 16 กันยายน 2564        กิจกรรมการเรียนการสอนมี ดังนี้              1. ให้นักศึกษาทุกคนเข้าห้อง Google Meet เวลา 09.30 น.              2. ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มนำเสนอ โครงงานบทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้องและ บทที่ 3 วิธีการดำเนินการศึกษา     ซึ่งมีทั้งหมด 7 กลุ่ม นำเสนอตามลำดับ ดังนี้         โดยแต่ละกลุ่มมีหัวข้อนำเสนอ ดังต่อไปนี้            กลุ่มที่ 7 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่องประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิชา วิทยาการคำนวณ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3       กลุ่มที่ 3 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่างปลอดภัย วิชา วิทยาการคำนวณ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6       กลุ่มที่ 5   เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4       กลุ่มที่ 4 เรื่อง การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง องค์ประกอบหลักการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี ระดับชั้น มัธยมศ

ผลการเรียนรู้ที่ 12

รูปภาพ
  ผลการเรียนรู้ครั้งที่    12 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning Management System) วันที่ 9 กันยายน 2564         วันนี้อาจารย์ศิริชัย ไม่จัดการเรียนการสอนเนื่องจาให้นักศึกษา จัดทำงานที่อาจารย์ได้มอบหมายและเตรียมนำเสนอในสัปดาห์ถัดไป           ดังนั้นสมาชิกในกลุ่มได้มีการประชุมนัดรวมกันทำงานออนไลน์ ผ่าน Google Meet เพื่อเพิ่มข้อมูลในส่วนของเล่มรายงานและในส่วนต่าง ๆ ในระบบ SMP.YRU  โดยมีการแบ่งหหน้าที่ให้แต่ละคนไปหาข้อมูลในส่วนของตัวเอง และเพิ่มข้อมูลลงระบบได้อย่างอิสระ                และได้มีการจัดทำกูเกิลสไลด์เพื่อจะนำเสนอในส่วนของบทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และบทที่ 3 วิธีการดำเนินการศึกษา          

ผลการเรียนรู้ที่ 11

รูปภาพ
  ผลการเรียนรู้ครั้งที่    11 ระบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ (Online Learning Management System)   วันที่  2  กันยายน  2564             กิจกรรมในวันนี้   สมาชิกในกลุ่มได้ทำการประชุมทำงานออนไลน์ ผ่าน Google Meet เพื่อทำโครงงานต่อในส่วนบทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง และบทที่ 3 วิธีการดำเนินการศึกษา ให้เสร็จสมบูรณ์พร้อมนำเสนอในสัปดาห์ถัดไป                  บทที่ 2 ทฤษฎีและเอกสารที่เกี่ยวข้อง   หัวหน้ากลุ่มทำการแบ่งหัวข้อเพื่อให้แต่ละคนหาเนื้อหาในส่วนของตัวเองที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้า มีดังต่อไปนี้ 1. เอกสารเกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้ออนไลน์      1.1 ความหมาย (นูรีดา)      1.2 ระบบอีเลิร์นนิ่ง (นูรโซเฟีย)      1.3 ขั้นตอนการพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง (นายีฮะห์)      1.4 เนื้อหาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (อัสมานี) บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษา   มีขั้นตอนการศึกษาและการพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่งตามขั้นตอนของ ADDIE หัวหน้ากลุ่มได้มอบหมายงานดังนี้                       1. การวิเคราะห์ ( Analysis) ( นูรโซเฟีย)             2. การออกแบบ ( Design) ( นูรีดา)